ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้ำที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมา
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกมันสำปะหลัง ในระยะ ปลูกใหม่ ระยะสร้างหัว/สะสมแป้ง รับมือโรคโคนเน่า หัวเน่า
เตือนผู้ปลูกทุเรียน ในระยะ เตรียมต้น (ระยะการเจริญทางใบ) รับมือโรคราสีชมพู พบเส้นใยสีขาวของเชื้อราเจริญคลุมกิ่ง หรือลำต้น
ในระยะ เริ่มลงหัว - เก็บเกี่ยวผลผลิต รับมือด้วงงวงมันเทศ ตัวเต็มวัยทำลายทุกส่วนของพืช ในขณะที่ตัวหนอนทำลายในหัวและเถา
ช่วงนี้อากาศแปรปรวน เริ่มมีฝนฟ้าคะนองในหลายพื้นที่แต่ยังคงจะมีอากาศเย็นในตอนเช้า เตือนผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด รับมือหนอนใยผัก
โรคจุดดำ หรือโรคแอนแทรคโนส (เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides) เชื้อสาเหตุโรคเข้าทำลายพืชได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต
กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรสวนส้มโอให้เฝ้าระวังหนอนเจาะผลส้มโอ ในระยะที่ต้นส้มโอติดผล จะพบตัวเต็มวัย เพศเมียวางไข่บนผลส้มโออายุประมาณ 2 สัปดาห์
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเป็นแมลงปากดูด ตัวเต็มวัยมีขนาดยาวประมาณ 3 มม. กว้าง 1 มม.ลำตัวมีสีน้ำตาลจนถึงสีน้ำตาล ปนดำ มีรูปร่าง 2 ลักษณะ
เตือนผู้ปลูกกล้วย รับมือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา หรือ โรคเหี่ยว (เชื้อรา)ใบกล้วยที่อยู่รอบนอกหรือใบแก่แสดงอาการเหี่ยวเหลือง
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกอะโวคาโด ในระยะติดดอก - ผลอ่อน รับมือโรคจุดดำ หรือโรคแอนแทรคโนส
วิธี ปลูกหอมแดง พืชเครื่องแกงที่ต้องมีติดครัวไว้ เพราะอาหารไทยส่วนใหญ่จะมีหอมแดงเป็นส่วนประกอบแทบจะทุกเมนูไม่มากก็น้อย
โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน โรคพืช ที่มาพร้อมกับฝนและแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และมีวิธีการจัดการอย่างไร
หนอนกอข้าวเป็นแมลงศัตรูข้าวที่พบเป็นประจำในนาข้าว แต่มักจะไม่ทำความเสียหายข้าวลีบทั้งรวง รวงข้าวมีสีขาวเรียกอาการนี้ว่า "ข้าวหัวหงอก"
เตือนผู้ปลูกข้าวโพดหวาน ในระยะออกดอกถึงระยะติดฝัก รับมือหนอนเจาะฝักข้าวโพด แม่ผีเสื้อวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ตามเส้นไหมที่ปลายฝักข้าวโพด
หนอนห่อใบข้าวจะเคลื่อนย้ายเข้าแปลงนา ตั้งแต่ข้าวยังเล็กและวางไข่ที่ใบอ่อน ใบที่ 1-2 จากยอด เมื่อตัวหนอนฟักออกมาจะแทะผิวใบข้าวส่วนที่เป็นสีเขียว
โรคแคงเกอร์มะนาว หรือ โรคขี้กลากในส้ม เป็นโรคที่มีผลต่อพืชในสกุลส้ม ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ทำให้เกิดแผลบนใบ ลำต้น และผล
ในระยะพัฒนาผล - เก็บเกี่ยว รับมือโรคผลเน่า เริ่มแรกเกิดจุดแผลขนาดเล็กสีน้ำตาลดำบนผล จุดแผลจะขยายใหญ่ลุกลามมากขึ้นตามการสุกของผล
ในระยะ ระยะเริ่มปลูกถึงอายุประมาณ ๓๐ วัน รับมือโรคราน้ำค้าง (เชื้อรา Peronosclerospora sorghi) โรคเกิดได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก
เตือนผู้ปลูกอ้อย ในระยะ อ้อยปลูกใหม่ ระยะอ้อยแตกกอ รับมือด้วงหนวดยาวอ้อย ตัวหนอนของด้วงหนวดยาวอ้อยเริ่มเข้าทำลายตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกอ้อย
กระท้อนเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ความสูงประมาณ 15-30 เมตร ยอดเป็นพุ่มกลมหนาทึบ ลำต้นเปล่า เปลือกสีน้ำตาลอ่อนอมชมพูค่อนข้าง เรียบและแตกลอนเป็นสะเก็ดใหญ่
โปรดระวัง "ไรแดงแอฟริกัน" ในพืชตระกูลส้ม (เช่น มะนาว มะกรูด ส้มโอ และ ส้มเขียวหวาน) โปรดอย่าลืมช่วง นี้ให้ระวังอากาศร้อนจัด
อาการผิดปกติที่เกิดกับส่วนต่างๆ ของมังคุด อาจจะมีสาเหตุมาจากการทำลายของโรค แมลงหรืออาจจะเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม
โรคใบไหม้ (Late blight)อาการของโรคใบไหม้มะเขือเทศ สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกระยะการเจริญเติบโตและทุกส่วนของพืช โรคใบจุดดวง (early blight)
สภาพอากาศในช่วงนี้มีฝนตกและฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกพริกรับมือไรขาวพริกที่สามารถทำลายต้นพริกได้ในทุกระยะการเติบโตของพริก
โรคที่มีผลกระทบต่อคุณภาพและปริมาณผลผลิตพริกที่สำคัญมีอยู่หลายโรคด้วยกัน เริ่มตั้งแต่เมล็ดพันธุ์ที่อาจจะมีเชื้อสาเหตุโรคพืชปนเปื้อน
โรคที่มีผลกระทบต่อคุณภาพและปริมาณผลผลิตพริกที่สำคัญมีอยู่หลายโรคด้วยกัน เริ่มตั้งแต่เมล็ดพันธุ์ที่อาจจะมีเชื้อสาเหตุโรคพืชปนเปื้อน